ข้อมูลโครงการวิจัย มหาวิทยาลัยราชธานี

          

ข้อมูลโครงการวิจัย
ชื่อโครงการวิจัย   ::    ภาวะสุขภาพทางเพศของวัยรุ่นใน อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
ปีงบประมาณ   ::    2557
หัวหน้าโครงการวิจัย   ::    ปาลัช สกุลธนิษฐ์
ผู้ร่วมโครงการวิจัย   ::    สุกัญญา โกวศัลย์ดิลก
แหล่งเงินสนับสนุน   ::    ภายใน
งบประมาณโครงการ   ::    59500
ประเภทโครงการวิจัย   ::    พรรณนา
สาขาวิชา   ::    วิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์
ผลการดำเนินงาน   ::    ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่
เอกสารงานวิจัย   ::   
บทคัดย่อโครงการวิจัย   ::          ปัญหาเรื่องสุขภาพทางเพศ เปนที่สนใจในระดับนานาชาติ ทั้งนี้ เพื่อใหมีการปรับปรุงและสงเสริมการใหความรู เรื่องเพศกับวัยรุน โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกําลังพัฒนา โดยในปจจุบันนี้ปญหาเรื่องสุขภาพทางเพศไดรับการ พิจารณาเปนโครงการในระดับโลกไปแลว จากมุมมองในจุดนี้ ผูวิจัยไดทําการวิจัยเชิงสํารวจ วัตถุประสงค เพื่อศึกษาภาวะ สุขภาพทางเพศของวัยรุนในอําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี กลุมตัวอยางจํานวน 99 ราย เพศชายและหญิง อายุ 15-19 ป เก็บขอมูลเดือนพฤษภาคม 2558 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ แบบสอบถาม 20 ขอ โดยกลุมตัวอยางตอบคําถามดวย ตนเอง ผานระบบอิเลคโทรนิค (self-completed online questionnaire) สิ่งที่พบ กลุมตัวอยางสวนใหญรอยละ 64.6 เปนหญิง อายุเฉลี่ย 17.14 ป กําลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษา กลุม ตัวอยางรอยละ 80 มีความสัมพันธที่ดีกับบิดา/มารดาและผูปกครองในขั้นสนิทมากคุยไดทุกเรื่อง ยกเวนเรื่องเรื่องเพศ กลุมตัวอยางไมมีความสะดวกใจ มีเพียงประมาณรอยละ 30 เทานั้น และในขณะที่รอยละ 30 ไมเคยพูดเรื่องเพศกับมารดา เลย วัยรุนมีความสะดวกใจที่จะคุยเรื่องเพศมากที่สุด เมื่อคุยกับเพื่อนรุนเดียวกัน คิดเปนรอยละ 40 สวนความชอบที่จะรับ คําแนะนําเรื่องเพศ รอยละ 28.3 ตองการรับคําแนะนําจากบุคลากรทางการแพทย ในขณะที่เรื่องการตั้งครรภและการ ปฏิสนธิจะถามครู/อาจารย มากกวารอยละ 40 สวนการบริหารความสัมพันธกับคนรักสวนใหญจะเลือกถามเพื่อน มากกวา รอยละ 40 เชนกัน เรื่องความรูทางเพศ/เพศสัมพันธนั้น 2 อันดับแรก ที่ความตองการรูคือ เรื่องการมีเพศสัมพันธ และการ มีเพศสัมพันธที่ปลอดภัย ดานพฤติกรรมความเสี่ยง กลุมตัวอยางสวนใหญใชยาเสพติด และสูบบุหรี่เปนประจําถึงรอยละ 84.8 และ 98.0 ตามลําดับ ดานการบริการสาธารณสุขดานสุขภาพทางเพศนั้น สวนใหญทราบวามีการใหบริการในโรงพยาบาล แตจะไมไป รับคําปรึกษาจนกวาจะเจ็บปวย และมีความตองการที่จะปรึกษาทางโทรศัพทมากกวาไปโรงพยาบาล เนื่องจากไมตอง แสดงตัว รวมทั้งซื้อยาจากรานขายยา เนื่องจากสะดวกไดยางาย ทั้งนี้ ยังพบวากลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องการติด เชื้อเอชไอวี/เอดส, โรคติดตอทางเพศสัมพันธ, การคุมกําเนิด, วิธีใชถุงยางอนามัย, การทําแทง, การตั้งครรภ การใชยาและ การมีเพศสัมพันธในระดับต่ํา คําสําคัญ: ภาวะสุขภาพ, สุขภาพทางเพศ, บริการสาธารณสุขดานสุขภาพทางเพศ
ช่วงเวลาเผยแพร่   ::    2558-07-00
หน่วยน้ำหนัก   ::    0.2